โวหาร ใน ภาษา ไทย: โวหาร – ภาษาไทยใส่ไข่ใส่นม

July 22, 2022, 8:44 pm

อุปลักษณ์ ( Metaphor) อุปลักษณ์ ก็คล้ายกับอุปมาโวหารคือเป็นการเปรียบเทียบเหมือนกัน แต่เป็นการเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่ง การเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่ง มักจะมีคำ เป็น คือ มี ๓ ลักษณะ ๑. ใช้คำกริยา เป็น คือ = เปรียบเป็น เช่น โทสะ คือ ไฟ ๒. ใช้คำเปรียบเป็น เช่น ไฟโทสะ ดวงประทีปแห่งโลก ตก เหวรัก จะดิ้นรนไปจนตาย ๓. แสดงการเปรียบเทียบโดยปริยาย เช่น มโหรีจากราวป่ามาเรื่อยรี่ อุปลักษณ์จะไม่กล่าวโดยตรงเหมือนอุปมา แต่ใช้วิธีกล่าวเป็นนัยให้เข้าใจเอาเอง ที่สำคัญอุปลักษณ์จะไม่มีคำเชื่อมเหมือนอุปมา ตัวอย่างเช่น ขอ เป็น เกือกทองรองบาทา ไปจนกว่าชีวันจะบรรลัย ทหาร เป็น รั้วของชาติ เธอ คือ ดอกฟ้าแต่ฉันนั้น คือ หมาวัด เธอ เป็น ดินหรือเธอ เป็น หญ้าแท้จริงมีค่ากว่าใครนิรันดร์ ชาวนา เป็น กระดูกสันหลังของชาติ ครู คือ แม่พิม์ของชาติ ชีวิต คือ การต่อสู้ ศัตรู คือ ยากำลัง 3.

สำนวนโวหารในภาษาไทย by Phimz Jsk

โวหาร ใน ภาษา ไทย voathai.com โวหาร ใน ภาษา ไทย
โวหารภาพพจน์ ความหมายของโวหารภาพพจน์ โวหาร คือ การใช้ถ้อยคำอย่างมีชั้นเชิง เป็นการแสดงข้อความออกมาในทำนองต่างๆ เพื่อให้ข้อความได้เนื้อความดี มีความหมายแจ่มแจ้ง เหมาะสมน่าฟัง ในการเขียนเรื่องราวอาจใช้โวหารต่างๆ กัน แล้วแต่ชนิดของข้อความ (สมถวิล วิเศษสมบัติ. ๒๕๔๔: ๑๒๙) โวหารภาพพจน์ คือ กลวิธีการนำเสนอสารโดยการพลิกแพลงภาษาที่ใช้พูด หรือเขียนให้แปลกออกไปจากภาษาตามตัวอักษรทำให้ผู้อ่านเกิดภาพในใจ เกิดความประทับใจ เกิดความรู้สึกสะเทือนใจ เป็นการเปรียบเทียบให้เห็นภาพอย่างชัดเจน) ประเภทของโวหารภาพพจน์ 1.

แจกฟรี สื่อการสอน แผ่นพับ เรื่องโวหารในภาษาไทย - คลังสื่อการสอน

สำนวนโวหารในภาษาไทย แบ่งออกเป็น 5 ชนิด 1. บรรยายโวหาร คือ การอธิบาย 2. พรรณนาโวหาร คือ ทำให้เห็นภาพ 3. เทศนาโวหาร คือ การสั่งสอน 4. สาธกโวหาร คือ การยกตัวอย่าง 5.

การโวหาร ความหมายของโวหาร โวหาร หมายถึง ถ้อยคำที่ใช้ในการสื่อสารที่เรียบเรียงเป็นอย่างดี มีวิธีการ มีชั้นเชิงและมีศิลปะ เพื่อสื่อให้ผู้รับสารรับสารได้อย่างแจ่มแจ้ง ชัดเจนและลึกซึ้ง รับสารได้ตามวัตถุประสงค์ของผู้ส่งสาร ประเภทของโวหาร การเขียนเรื่องราวอาจใช้โวหารต่าง ๆ กันแล้วแต่ชนิดของข้อความ โวหารอาจจำแนก ตามลักษณะ ของข้อความหรือเนื้อหาเป็นประเภทต่าง ๆ ได้ ดังนี้ 1.

Voathai

นามนัย ( Metonymy) นามนัย คือ การใช้คำหรือวลีซึ่งบ่งลักษณะหรือคุณสมบัติของสิ่งใดสิ่งหนึ่งแทนอีกสิ่งหนึ่ง คล้ายๆ สัญลักษณ์ แต่ต่างกันตรงที่ นามนัยนั้นจะดึงเอาลักษณะบางส่วนของสิ่งหนึ่งมากล่าวให้หมายถึงส่วนทั้งหมด หรือใช้ชื่อส่วนประกอบสำคัญของสิ่งนั้นแทนสิ่งนั้นทั้งหมด ตัวอย่างเช่น เมืองโอ่ง หมายถึง จังหวัดราชบุรี เมืองย่าโม หมายถึง จังหวัดนครราชสีมา ทีมเสือเหลือง หมายถึง ทีมมาเลเซีย ทีมกังหันลม หมายถึง ทีมเนเธอร์แลนด์ ทีมสิงโตคำราม หมายถึง อังกฤษ ฉัตร มงกุฎ หมายถึง กษัตริย์ เก้าอี้ หมายถึง ตำแหน่ง หน้าที่ มือที่สาม หมายถึง ผู้ก่อความเดือดร้อน เอวบาง หมายถึง นาง ผู้หญิง 8. ปรพากย์ ( Paradox) ปฏิพากย์ หรือ ปรพากย์ คือการใช้ถ้อยคำที่มีความหมายตรงกันข้ามหรือขัดแย้งกันมากล่าว อย่างกลมกลืนกันเพื่อเพิ่มความหมายให้มีน้ำหนักมากยิ่งขึ้น ตัวอย่างเช่น เลวบริสุทธิ์ บาปบริสุทธิ์ สวยเป็นบ้า สวยอย่างร้ายกาจ สนุกฉิบหาย สวรรค์บนดิน ยิ่งรีบยิ่งช้า น้ำร้อนปลาเป็น น้ำเย็นปลาตาย เสียน้อยเสียยาก เสียมากเสียง่าย รักยาวให้บั่น รักสั้นให้ต่อ แพ้เป็นพระ ชนะเป็นมาร ขอขอบคุณข้อมูลจาก 113. 53. 232. 212/~pcc35/knowlage/

อุปมาโวหาร หมายถึง โวหารเปรียบเทียบ โดยกตัวอย่าง สิ่งที่คล้ายคลึงกันมาเปรียบเพื่อให้เกิดความชัดเจนด้านความหมาย ด้านภาพ และเกิดอารมณ์ ความรู้สึกมากยิ่งขึ้น กล่าวได้ว่าอุปมาโวหาร คือ ภาพพจน์ประเภทอุปมานั่นเอง อุปมาโวหารใช้เป็นโวหารเสริม บรรยายโวหาร พรรณนาโวหาร และเทศนาโวหาร เพื่อให้ชัดเจนน่าอ่าน โดยอาจเปรียบเทียบอย่างสั้น ๆ หรือเปรียบเทียบอย่างละเอียดก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับอุปมา โวหารนั้นจะนำไปเสริมโวหารประเภทใด 5.

โวหารในภาษาไทยมีกี่ชนิด

พรรณนาโวหาร คือ โวหารที่ใช้กล่าวถึงเรื่องราว สถานที่ บุคคล สิ่งของ หรืออารมณ์อย่างละเอียด สอดแทรกอารมณ์ ความรู้สึกลงไปเพื่อโน้มน้าวใจ ให้ผู้รับสารเกิดภาพพจน์ เกิดอารมณ์คล้อยตามไปด้วย ใช้ในการพูดโน้มน้าว อารมณ์ของผู้ฟัง หรือเขียนสดุดี ชมเมือง ชมความงามของบุคคล สถานที่และแสดงอารมณ์ความรู้สึกต่าง ๆ เป็นต้น 4. อุปมาโวหาร หมายถึง โวหารเปรียบเทียบ โดยยกตัวอย่าง สิ่งที่คล้ายคลึงกันมาเปรียบเพื่อให้เกิดความชัดเจนด้านความหมาย ด้านภาพ และเกิดอารมณ์ ความรู้สึกมากยิ่งขึ้น โดยอาจเปรียบเทียบอย่างสั้น ๆ หรือเปรียบเทียบอย่างละเอียดก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับอุปมาโวหารนั้นจะนำไปเสริมโวหารประเภทใด 5. สาธกโวหาร คือ โวหารที่มุ่งให้ความชัดเจนโดยการยกตัวอย่างหรือเรื่องราวประกอบการอธิบาย เนื้อหาสาระ เพื่อสนับสนุน ข้อคิดเห็นต่าง ๆ ให้หนักแน่น สมเหตุสมผล ทำให้ผู้รับสารเข้าใจเนื้อหา สาระในสิ่งที่พูด หรือเขียนอย่างแจ่มแจ้ง ชัดเจน ดูสมจริง หรือน่าเชื่อถือยิ่งขึ้น ตัวอย่างหรือเรื่องราว ที่ยกขึ้นประกอบอาจเป็นเรื่องสั้น ๆ หรือเรื่องราวยาว ๆ ก็ได้ตามความเหมาะสม เช่น ประสบการณ์ตรงของผู้ส่งสาร เรื่องราวของบุคคล เหตุการณ์ นิทาน ตำนาน วรรณคดี เป็นต้น สาธกโวหารมักใช้เป็นอุทาหรณ ์ประกอบอยู่ในเทศนาโวหาร หรืออธิบายโวหาร 6.

  • ลีลาวรรณคดีไทย (โวหารภาพพจน์) | ครูวราพร
  • แจกฟรี สื่อการสอน แผ่นพับ เรื่องโวหารในภาษาไทย - คลังสื่อการสอน
  • รถ มี ปัญหา โทร call center
  • เนื้อเพลง Butterfly - BTS เนื้อเพลง เพลงเกาหลี KPOP ร้องง่าย อ่านสบายตา
  • I have nothing แปล meme
  • Kwang han roo ราคา
  • คอร์ด ปล่อยวาง Guy James - Chordindy
  • เกร็ดความรู้ทาง สังคม-ภาษาไทย: สำนวนโวหาร (ภาษาไทย)
  • ตัดผม สั้น แบบ ทอม เฟลตัน

สำนวนโวหารในภาษาไทย แบ่งออกเป็น 5 คือ 1. พรรณนาโวหาร มีจุดมุ่งหมายในการเขียนต่างจากบรรยายโวหาร คือมุ่งให้ความแจ่มแจ้ง ละเอียดลออ เพื่อให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์ซาบซึ้งเพลิดเพลินไปกับข้อความนั้นการเขียนพรรณาโวหารจึงยาวกว่าบรรยายโวหารมาก แต่มิใช่การเขียนอย่างเยิ่นเย้อ เพราะพรรณนา-โวหารต้องมุ่งให้ภาพ และอารมณ์ ดังนั้น จึงมักใช้การเล่นคำ เล่นเสียง ใช้ภาพพจน์ แม้เนื้อความที่เขียนจะน้อยแต่เต็มด้วยสำนวนโวหารที่ไพเราะ อ่านได้รสชาติ 2. บรรยายโวหาร คือ โวหารที่ใช้เล่าเรื่อง หรืออธิบายเรื่องราวต่าง ๆ ตามลำดับเหตุการณ์ การเขียนบรรยายโวหาร จะมุ่งความชัดเจน เขียน ตรงไปตรงมา รวบรัด กล่าวถึงแต่สาระสำคัญไม่จำเป็นต้องมีพลความ หรือความปลีกย่อยเสริม ในการเขียนทั่ว ๆ ไปมักใช้บรรยายโวหาร เพราะเหมาะในการติดต่อสื่อสารเนื่องจากสำนวนประเภทนี้มุ่งสาระเขียนอย่างสั้น ๆ ได้ความชัดเจนงานเขียนที่ควรใช้บรรยายโวหาร ได้แก่ การเขียนอธิบายประเภทต่าง ๆเช่น เขียนรายงานวิทยานิพนธ์ ตำรา บทความ การเขียนเพื่อเล่าเรื่อง เช่น บันทึก จดหมายเหตุ การเขียนเพื่อแสดงความคิดเห็นประเภทบทความเชิงวิจารณ์ ข่าว เป็นต้น 3. เทศนาโวหาร หมายถึง โวหารที่มีจุดหมายแสดงความแจ่มแจ้งเพื่อให้ผู้อ่านคล้อยตามหรืออาจกล่าวได้ว่ามุ่งชักจูงให้ผู้อ่าน คิดเห็นหรือคล้อยตามความคิดเห็นของผู้เขียนเทศนาโวหาร จึงยากกว่าโวหารที่กล่าวมาแล้วทั้ง 2 โวหาร เพราะต้องใช้กลวิธีในการชักจูงใจ 4.